Day 10 11th December 2022
Tbilisi-Almaty-Bangkok
ทริปนี้เราเลือกใช้สายการบิน air astana สัญชาติคาซัคสถานเลยต้องมีการ ทรานซิส ที่ อามาตี ประเทศคาซัคสถาน ทั้งไปและกลับ บนเครื่องมีบริการอาหารดี มีของชำร่วย ขาไปรอเปลี่ยนเครื่องไม่นานมาก แต่ขากลับ ต้องรอ 19 ชั่วโมง หัวหน้าเผ่า เลยวางแผนให้เราเข้าประเทศไปเดินเล่นในประเทศนี้ฆ่าเวลา และได้เลือกสถานที่ดีงามไว้แล้วเรียบร้อย
![](https://blogger.googleusercontent.com/img/a/AVvXsEgvLpOrM8ABQL0uCTrwPEtsbRZOrPHISufAdlpZG_OhVy-xwQh82yYP_boWeJJt7hGBHd2kbY1Cu6prv9ET7fwhWwhEc2kP8H-ZB0oJ3G7GE8w64-gRlJ9KVlhtg7Wq6ug3ZJlpiMRRMir6jTY7kt2UabNcIrn9FXAI0Ih9Lh5FPmpIF0-8j9Csxy3khA)
ว่างๆหลังอาหารบนเครื่อง นั่งดูแผนที่อากาศหลังเบาะคนช้างหน้า สังเกตว่าเครื่องบินออกจาก Tbilisi แต่ไม่ได้ตั้งเข็มตรงดิ่งไปยัง Almaty แต่จะบินเลาะแนวชายแดนคาซัคสถาน🇰🇿 ไม่เข้าไปในพรมแดนของ อุซเบกิสถาน 🇺🇿เดาว่าคงไม่ต้องการเข้าไปในน่านฟ้าของประเทศนั้นให้ต้องจ่ายค่าผ่านน่านฟ้าให้มีปัญหา ซึ่งจะมีปัญหาเหมือนของไทยที่เครื่องที่จะบินไปเบตง แต่ตอนลงต้องตีวงเข้าไปในน่านฟ้ามาเลเซียทำให้ค่าเครื่องไปเบตงแพงพอๆกับไปสิงคโปร์ซะงั้นเรื่องไม่มีพรมแดนนี่ คิดไปก็ให้คิดถึงเผ่าพันธุ์นก ที่เค้าไม่มีพรมแดนจริงจะบินตรงผ่านน่านฟ้าประเทศไหนก็ได้ ตั้งเข็มตรง เผื่อแค่ทิศทางลมหน่อย ก็สามารถเลือกโดยใช้ระยะทางสั้นสุด แต่มนุษย์เสียอีกที่มาตั้งกฏเกณพรมแดน บนดินยังไม่พอ ยังอุตส่าห์จับจองขึ้นไปถึงท้องฟ้า ทำให้ต้องนั่งเครื่องเมื่อยแล้วเมื่อยอีกอยู่นี่งัย นึกบ่นอยู่ในใจ ได้ไม่นานกัปตันประกาศลงจอดที่สนามบิน almaltyที่อุณหภูมิเช้านี้ -14 องศา ลานบินขาวโพลนหนาวแน่ โชคดีที่วันนี้ได้ลงเครื่องทางงวงไม่ต้องใช้บันไดแบบขาขึ้น แบบนั้นยะเยือกจริงๆ การผ่าน ตม.วันนี้ก็ไม่ยุ่งยากเพราะมีบัตรโดยสารออกนอกประเทศภายในวันนี้ แน่นอนว่าพวกเราไม่มาเกาะกินอยู่นานแน่ วันนี้เราจะมาแค่ที่เดียว…..
ว่างๆหลังอาหารบนเครื่อง นั่งดูแผนที่อากาศหลังเบาะคนช้างหน้า สังเกตว่าเครื่องบินออกจาก Tbilisi แต่ไม่ได้ตั้งเข็มตรงดิ่งไปยัง Almaty แต่จะบินเลาะแนวชายแดนคาซัคสถาน🇰🇿 ไม่เข้าไปในพรมแดนของ อุซเบกิสถาน 🇺🇿เดาว่าคงไม่ต้องการเข้าไปในน่านฟ้าของประเทศนั้นให้ต้องจ่ายค่าผ่านน่านฟ้าให้มีปัญหา ซึ่งจะมีปัญหาเหมือนของไทยที่เครื่องที่จะบินไปเบตง แต่ตอนลงต้องตีวงเข้าไปในน่านฟ้ามาเลเซียทำให้ค่าเครื่องไปเบตงแพงพอๆกับไปสิงคโปร์ซะงั้น
เรื่องไม่มีพรมแดนนี่ คิดไปก็ให้คิดถึงเผ่าพันธุ์นก ที่เค้าไม่มีพรมแดนจริงจะบินตรงผ่านน่านฟ้าประเทศไหนก็ได้ ตั้งเข็มตรง เผื่อแค่ทิศทางลมหน่อย ก็สามารถเลือกโดยใช้ระยะทางสั้นสุด แต่มนุษย์เสียอีกที่มาตั้งกฏเกณพรมแดน บนดินยังไม่พอ ยังอุตส่าห์จับจองขึ้นไปถึงท้องฟ้า ทำให้ต้องนั่งเครื่องเมื่อยแล้วเมื่อยอีกอยู่นี่งัย นึกบ่นอยู่ในใจ ได้ไม่นานกัปตันประกาศลงจอดที่สนามบิน almaltyที่อุณหภูมิเช้านี้ -14 องศา ลานบินขาวโพลนหนาวแน่ โชคดีที่วันนี้ได้ลงเครื่องทางงวงไม่ต้องใช้บันไดแบบขาขึ้น แบบนั้นยะเยือกจริงๆ การผ่าน ตม.วันนี้ก็ไม่ยุ่งยากเพราะมีบัตรโดยสารออกนอกประเทศภายในวันนี้ แน่นอนว่าพวกเราไม่มาเกาะกินอยู่นานแน่ วันนี้เราจะมาแค่ที่เดียว…..Lake Sorbulaq , Almaty
This large sodium lake is very good for spotting eastern birds. And also very good for breeding Dalmatian Pelican. Migrant waders such as Terek Sandpiper and Lesser Sand Plover can also be found here. In some years, thousands of Rosy Starling also breed around the dam. But this only happens when it's a good year for crickets. The crickets live in the surrounding desert and the starlings feed on them. Other birds you can encounter here: Lesser Kestrel, Red-footed Falcon, White-headed Duck, Ruddy Shelduck, Red-crested Pochardand Common Pochard, Pallas's Gull and Caspian Gull, Black-winged Stilt, Water Rail, Collared Pratincole, Black-crowned Night-Heron, Great Bittern, Little Bittern and Clamorous Reed Warbler.
ทะเลสาบโซเดียมขนาดใหญ่แห่งนี้เหมาะสำหรับการส่องดูนกทางทิศตะวันออก และยังเหมาะสำหรับการเพาะพันธุ์ของ Dalmatian Pelican นอกจากนี้ยังสามารถพบนกอพยพ เช่น Terek Sandpiper และ Lesser Sand Plover ได้ที่นี่ ในบางปี Rosy Starling หลายพันตัวก็ผสมพันธุ์รอบๆ เขื่อน แต่สิ่งนี้จะเกิดขึ้นก็ต่อเมื่อเป็นปีที่ดีสำหรับจิ้งหรีดเท่านั้น จิ้งหรีดอาศัยอยู่ในทะเลทรายรอบๆ และนกกิ้งโครงกินพวกมัน นกอื่น ๆ ที่คุณสามารถพบได้ที่นี่: นกเหยี่ยวเคสเทรลน้อย เหยี่ยวเท้าแดง เป็ดหัวขาว เชลดั๊กสีแดง โพชาร์ดหงอนแดงและนกนางนวลสามัญ นกนางนวลพัลลาและนกนางนวลแคสเปี้ยน นกนางนวลปีกดำ ราวน้ำ นกนางนวลคอปก นกนางนวลมงกุฎดำ นกกระสากลางคืน นกกระจาบ นกกระจาบ และนกกระจาบที่ร้องเสียงดัง
Half day tour
เราตกลงเช่ารถบัส( รถตู้ใหญ่หน่อย)ไปทะเลสาป ตกลงราคากันเรียบร้อยนายหน้าเรียกเก็บเงินทุกคนก่อนรถออก นึกตะหงิดๆทำไมรีบเก็บจังเราหนีไหนไม่ได้หรอก วิ่งไปสักพัก คนขับกับหัวหน้าเผ่าเราเริ่มคุยกันเหมือนจะไม่เข้าใจอะไรสักอย่างจนดูเหมือนจะต้องยกเลิกทริปกลับบ้าน จนในที่สุดต้องวนรถกลับไปคุยกับนายหน้า นัดเจอกันตรงไหนสักแห่งไม่แน่ใจ เจอกับนายหน้าคุยภาษาอังกฤษได้ ได้ความว่าจะต้องเพิ่มเงินอีก 50%ของราคาที่เก็บไปแล้วถ้าจำไม่ผิด สรุปแล้วเราต้องจ่ายตกคนละประมาณ 1000 บาท แฮปปี้ทั้งนายหน้าและไดรเวอร์คราวนี้รถวิ่งลื่นเลยไม่ต้องใช้ gps ว่าไปแล้วจริงๆคนขับก็ดูเป็นคนดีมีน้ำใจปัญหาน่าจะอยู่ที่คนที่กินหัวคิวที่ตุกติก แต่ในที่สุดเราก็ไปถึงเป้าหมาย ที่สวยงามทุกคนมีความสุขลืมความขุ่นในใจก่อนหน้านี้จนหมดสิ้น
https://www.facebook.com/groups/508022357606062/permalink/676818307393132/
ถ่ายคนถ่ายวิวกันจนพอใจเดินหานกกัน ได้เจอหงส์เล่นน้ำเห็นไกลๆอยู่หนึ่งฝูงมิสามารถถ่าภาพได้เพราะหาจุดโฟกัสภาพไม่ได้ ขาวโพลนไปหมด แต่โชคดีเมือเดินไปไกลอีกหน่อยเจอพื้นที่ที่ริมฝั่งน้ำ้อยู่ใกล้หน่อยหงส์อีกฝูงเข้ามาใกล้พอให้จับภาพได้ นี่ถ้าเจอตอนหน้าร้อนก็ไม่เท่าไหร่แต่นี้ลอยคออยู่ในท่ามกลางหิมะ ดูสวยงาม หลังจากเจอไปอ่านมาได้ความว่าอย่างนี้
The whooper swan (/ˈhuːpə(ɹ) swɒn/) (Cygnus cygnus), also known as the common swan, pronounced hooper swan, is a large northern hemisphere swan. It is the Eurasian counterpart of the North American trumpeter swan, and the type species for the genus Cygnus.
Whooper swan
หงส์พันธุ์ฮูเปอร์ต้องการพื้นที่น้ำขนาดใหญ่เพื่ออยู่อาศัย โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อพวกมันยังเติบโต เนื่องจากขาของพวกมันไม่สามารถรับน้ำหนักตัวได้เป็นระยะเวลานาน หงส์ตัวผู้ใช้เวลาส่วนใหญ่ไปกับการว่ายน้ำ กรองน้ำเพื่อหาอาหาร หรือกินพืชที่เติบโตใต้น้ำ หงส์ฮูเปอร์มีเสียงร้องที่หนักแน่น และแม้ว่าจะมีขนาดตัวที่ใหญ่โต แต่ก็ยังบินได้อย่างทรงพลัง หงส์ฮูเปอร์สามารถอพยพเป็นระยะทางหลายร้อยหรือหลายพันไมล์ไปยังสถานที่หลบหนาวของพวกมันทางตอนใต้ของยุโรปและเอเชียตะวันออก พวกมันขยายพันธุ์ในยูโรไซบีเรียกึ่งอาร์กติก ซึ่งอยู่ไกลออกไปทางใต้มากกว่า Bewicks ในเขตไทกา พวกมันเป็นพ่อพันธุ์แม่พันธุ์ที่หาได้ยากพบทางตอนเหนือของสกอตแลนด์ โดยเฉพาะในออร์กนีย์ และในช่วงไม่กี่ปีมานี้มีการเพาะพันธุ์ที่นั่นไม่เกินห้าคู่ ในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมามีเพียงไม่กี่คู่ที่เลี้ยงในไอร์แลนด์ นกชนิดนี้มักพเนจรไปยังอนุทวีปอินเดียและทางตะวันตกของทวีปอเมริกาเหนือเป็นครั้งคราว ผู้เพาะพันธุ์ชาวไอซ์แลนด์อาศัยอยู่เหนือฤดูหนาวในสหราชอาณาจักรและไอร์แลนด์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเขตอนุรักษ์ธรรมชาติไก่ป่าของ Royal Society for the Protection of Birds และ Wildfowl and Wetlands Trust
หงส์พันธุ์ฮูเปอร์ต้องการพื้นที่น้ำขนาดใหญ่เพื่ออยู่อาศัย โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อพวกมันยังเติบโต เนื่องจากขาของพวกมันไม่สามารถรับน้ำหนักตัวได้เป็นระยะเวลานาน หงส์ตัวผู้ใช้เวลาส่วนใหญ่ไปกับการว่ายน้ำ กรองน้ำเพื่อหาอาหาร หรือกินพืชที่เติบโตใต้น้ำ หงส์ฮูเปอร์มีเสียงร้องที่หนักแน่น และแม้ว่าจะมีขนาดตัวที่ใหญ่โต แต่ก็ยังบินได้อย่างทรงพลัง หงส์ฮูเปอร์สามารถอพยพเป็นระยะทางหลายร้อยหรือหลายพันไมล์ไปยังสถานที่หลบหนาวของพวกมันทางตอนใต้ของยุโรปและเอเชียตะวันออก พวกมันขยายพันธุ์ในยูโรไซบีเรียกึ่งอาร์กติก ซึ่งอยู่ไกลออกไปทางใต้มากกว่า Bewicks ในเขตไทกา พวกมันเป็นพ่อพันธุ์แม่พันธุ์ที่หาได้ยากพบทางตอนเหนือของสกอตแลนด์ โดยเฉพาะในออร์กนีย์ และในช่วงไม่กี่ปีมานี้มีการเพาะพันธุ์ที่นั่นไม่เกินห้าคู่ ในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมามีเพียงไม่กี่คู่ที่เลี้ยงในไอร์แลนด์ นกชนิดนี้มักพเนจรไปยังอนุทวีปอินเดียและทางตะวันตกของทวีปอเมริกาเหนือเป็นครั้งคราว ผู้เพาะพันธุ์ชาวไอซ์แลนด์อาศัยอยู่เหนือฤดูหนาวในสหราชอาณาจักรและไอร์แลนด์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเขตอนุรักษ์ธรรมชาติไก่ป่าของ Royal Society for the Protection of Birds และ Wildfowl and Wetlands Trust
ดูๆก็คงมีแค่นี้หนาวด้วยเลยถ่ารูปหมูเสร็จพากันขึ้นรถกลับ ขณะขับรถออกจากริมทะเลสาป โชเฟอร์คงเเพิ่งเก็จว่าพวกเราพวกเราจะมาทำอะไรกันที่นี้ เลยบอกว่าเดี๋ยวจาพาไปดูนกอีกที เค้าพูดอังกฤษไม่ได้ แต่ทำท่านกตีปีกพั๊บๆ โอเค ดีใจที่ไม่ต้องรีบกลับเร็วเกิน พาวิ่งมาสักพัก ก็เริ่มเห็น นกตัวใหญ่ๆตามพุ่มไม้ข้างทาง ค่อยๆทะยอย ลงไปทีละคนช้าๆ ตัวแรกเกาะนิ่งมาก แต่กิ่งไม้บังหน่อยแต่ก็พอได้ภาพกันทั่วหน้าทุกคน
Long eared owl นกเค้าแมวหูยาว (Asio otus) หรือที่รู้จักในชื่อนกเค้าแมวหูยาวเหนือ หรือที่เรียกอย่างไม่เป็นทางการว่า นกเค้าแมวเขาน้อย หรือ นกเค้าแมว ชนิดนี้เป็นนกเค้าแมวสายพันธุ์ขนาดกลางที่มีจำนวนมาก ช่วงผสมพันธุ์ ชื่อวิทยาศาสตร์มาจากภาษาละติน ชื่อสกุล Asio เป็นนกเค้าแมวหูชนิดหนึ่ง มีการขยายพันธุ์ในหลายพื้นที่ผ่านยุโรปและพาลีอาร์กติก รวมทั้งในอเมริกาเหนือ สปีชีส์นี้เป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มนกฮูกขนาดใหญ่ที่รู้จักกันในชื่อนกฮูกทั่วไปของวงศ์ Strigidae ซึ่งมีนกฮูกสปีชีส์ที่ยังหลงเหลืออยู่มากที่สุด
สายตาฉงนสนเท่ห์ คนพวกนี้มาทำอะไรอยู่ท่ามกลางหิมะ
ตอนนั้นทุกคนก็ตามไล่นกกันสนุกสนานมาก วิ่งไล่กันบนถนนหลวงเลยทีเดียว คาดว่ามีถึงมากกว่า 15 ตัว นับเป็น owl ฝูงใหญ่สุดที่ทุกคนเคยเจอกันมาทีเดียวผู้รู้ประเมินว่าน่าจะมี ถึง3 ฝูง บินวนไปวนมาแต่ถ่ายให้ดียากมาก ต้องอาศัยฝีมือขั้นเทพของสมาชิกในทีมหลายๆท่านที่คอยจับภาพตอนบินเท่านั้น
โฉมหน้าโปร อมร ภาพโดย หัวหน้าเผ่า manod
โดย อจ.ต่าย Piyapong
ตอนนั่งรถกลับ ได้ภาพนกอินทรีมาอีกตัว The white-tailed eagle (Haliaeetus albicilla) is a very large species of sea eagle widely distributed across temperate Eurasia. Like all eagles, it is a member of the family Accipitridae (or accipitrids) which includes other diurnal raptors such as hawks, kites, and harriers. One of up to eleven members in the genus Haliaeetus, which are commonly called sea eagles, it is also referred to as the white-tailed sea-eagle.Sometimes, it is known as the ern or erne (depending on spelling by sources),gray sea eagleand Eurasian sea eagle.
ภาพ นกเค้าหูยาว Long-Eared Owl บินร่อนสวยๆจากฝีมือ คุณ Amorn Liukeeratiyutkul
โดย อจ.ต่าย Piyapong
ลงรถไม่ทันบินหนีไปเสียก่อนได้มาแบบบินๆไม่ชัด แต่ก็ถือได้ว่าได้ครบตามเป้ากลับบ้านได้
อินทรีหางขาว White tailed Eagle
แม้ว่านกอินทรีจะพบได้หลากหลายสายพันธุ์ แต่ปัจจุบันแพร่พันธุ์จะไกลออกไปไกลทางตะวันตกที่เกาะกรีนแลนด์และไอซ์แลนด์ ไปจนถึงทางตะวันออกไกลถึงเกาะฮอกไกโด ประเทศญี่ปุ่น พวกมันมักจะหายากและกระจายอย่างเป็นจุดๆ เป็นสายพันธุ์ที่ทำรัง สาเหตุที่การแพร่พันธุ์ลดลงหลักมาจากกิจกรรมของมนุษย์ รวมถึงการเปลี่ยนแปลงที่อยู่อาศัยและการทำลายพื้นที่ชุ่มน้ำ ประมาณหนึ่งร้อยปีของการประหัตประหารอย่างเป็นระบบโดยมนุษย์ (ตั้งแต่ช่วงต้นทศวรรษ 1800 ถึงราวสงครามโลกครั้งที่สอง) ตามมาด้วยพิษโดยไม่ได้ตั้งใจและการเพิ่มปริมาณความล้มเหลวในการทำรังเนื่องจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืชและสารประกอบอินทรีย์ต่างๆ ที่มนุษย์สร้างขึ้น ได้คุกคามนกอินทรีตั้งแต่ประมาณปี 1950 และยังคงเป็นปัญหาต่อไป ด้วยเหตุนี้ อินทรีหางขาวจึงถูกพิจารณาว่าใกล้สูญพันธุ์หรือสูญพันธุ์ไปแล้วในหลายประเทศ อย่างไรก็ตาม ประชากรบางส่วนฟื้นตัวได้ดีเนื่องจากการคุ้มครองของรัฐบาลและนักอนุรักษ์และนักธรรมชาติวิทยาที่อุทิศตนปกป้องแหล่งที่อยู่อาศัยและแหล่งทำรัง และควบคุมการรุกล้ำและการใช้ยาฆ่าแมลงบางส่วน ตลอดจนการนำกลับมาใช้ใหม่อย่างระมัดระวังในส่วนของพื้นที่เดิมของพวกมัน ขอแสดงความยินดีกับที่นี่ด้วยใจจริงที่ยังมีนกให้เห็นอยู่เป็นจำนวนวนมาก … ไว้มีโอกาสอาจกลับมาอีกครั้ง
หน้าสนามบินกลับมาถึงเร็วไปหน่อย รออีก 8 ชั่วโมงได้กลับบ้าน มีเวลาเสวนากันได้อีกยาวเลย
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น